บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อศึกษา เปรียบเทียบ และหาแนวทางการพัฒนาศักยภาพการจัดการเรียนการสอนในวิทยาลัยครู สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารและครู ในวิทยาลัยครู สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ปีการศึกษา 2560 จำนวน 308 คน ประกอบด้วยผู้บริหาร จำนวน 88 คน และครูจำนวน 220 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ซึ่งมีค่าอำนาจจำแนกรายข้อระหว่าง .25-.80 และมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .96 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าร้อยละ การทดสอบค่า t (t-test) แบบ Independent Samplesการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว F-test (One way ANOVA)
ผลการวิจัย พบว่า
1. ระดับสภาพและปัญหาการจัดการเรียนการสอนในวิทยาลัยครู สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว โดยรวมอยู่ในระดับมาก
2. สภาพและปัญหาการจัดการเรียนการสอนในวิทยาลัยครู สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว จำแนกตามสถานภาพ จำแนกตามวุฒิการศึกษา และสภาพและปัญหาการจัดการเรียนการสอนในวิทยาลัยครู สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว จำแนกตามห้องการสาย โดยรวมและรายด้านทุกด้าน ไม่มีความแตกต่างกัน
3. สภาพและปัญหาการจัดการเรียนการสอนในวิทยาลัยครู สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว จำแนกตามภูมิภาค โดยรวมมีความแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
4. แนวทางการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในวิทยาลัยครู สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวที่ควรได้รับการพัฒนา จำนวน 4 ด้าน คือ การจัดการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล คุณลักษณะอาจารย์ และสื่อการเรียนการสอนโดยผู้วิจัยได้นำเสนอแนวทางการพัฒนาไว้ด้วย
Abstract
The purpose of this research were to examine, compare and establish the guidelines for developing instructional management in the Teacher Training Colleges, the Lao People’s Democratic Republic (Lao PDR). The 308 samples consisted of 88 administrators and 220 teachers in the Teacher Training Colleges, the Lao PDR in the academic year 2017. The instrument for data collection was a set of 5-level rating scale questionnaires concerning conditions and problems on instructional management, with the item discrimination value ranging from .25 to .80 and from 0.31 to 0.80 respectively-showed the reliability of .96 and 0.91, respectively. Statistics for data analysis were mean, standard deviation, percentage, t-test (Independent Samples), and F-test (One-Way ANOVA).
The results of this research were as follows:
1. The level of conditions and problems on instructional management in the Teacher Training Colleges, the Lao PDR was at a high level in overall.
2. The conditions and problems on instructional management in the Teacher Training Colleges, the Lao PDR, classified by status as a whole and each aspect were not different.
3. The conditions and problems of instructional management in the Teacher Training Colleges, the Lao PDR, classified by educational level as a whole and each aspect were not different.
4. The conditions and problems of instructional management in the Teacher Training Colleges, the Lao PDR, classified by department as a whole and each aspect were not different.
5. The conditions and problems on instructional management in the Teacher Training Colleges, the Lao PDR, classified by region as a whole were significantly different at the .01 level.
6. The developed guidelines for developing instructional management in the Teacher Training Colleges, the Lao PDR involved four aspects, which were identified as most in need of improvement: Instructional management, measurement and evaluation, teacher characteristics, and media. Furthermore, the researcher proposed specific directions for the development guidelines.
คำสำคัญ
การจัดการเรียนการสอน, วิทยาลัยครูKeyword
Instructional Management, Teacher Training Collegesกำลังออนไลน์: 99
วันนี้: 0
เมื่อวานนี้: 2,995
จำนวนครั้งการเข้าชม: 58,194
อาคารบัณฑิตวิทยาลัย ชั้น 2 ตำบลธาตุเชิงชุม อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร 47000 โทร/ แฟกซ์ 0-4297-0036
บรรณาธิการ: รองศาสตราจารย์ ดร.ไชยา ภาวะบุตร
ติดต่อ/สอบถาม: นายธีรเวทย์ เพียรธัญญกรณ์
โทร: 0-4297-0093