บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาการมีส่วนร่วมของครูในการบริหารงานโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ 2) เปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของครูในการบริหารงานโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ ตามความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาและครู จำแนกตามสถานภาพ 3) เปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของครูในการบริหารงานโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ ตามความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาและครู จำแนกตามประสบการณ์การทำงาน 4) เปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของครูในการบริหารงานโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ ตามความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาและครู จำแนกตามขนาดของโรงเรียน 5) หาแนวทางการพัฒนาการมีส่วนร่วมของครูในการบริหารงานโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้บริหารสถานศึกษา และครูในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ ประจำปีการศึกษา 2556 จำนวน 530 คน กลุ่มตัวอย่างได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม มีค่าอำนาจจำแนก 0.44 - 0.74 และค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ .97 วิเคราะห์ข้อมูลโดยโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ
ผลการวิจัยพบว่า
1. การมีส่วนร่วมของครูในการบริหารงานโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยเรียงจากมากไปหาน้อย คือ ด้านวิชาการ ด้านการบริหารทั่วไป ด้านงบประมาณ และด้านการบริหารงานบุคคล ตามลำดับ
2. การเปรียบเทียบระดับความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาและครูในโรงเรียนที่มีสถานภาพต่างกันมีความคิดเห็นในการมีส่วนร่วมของครูในการบริหารงานโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ โดยรวมไม่แตกต่างกัน เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ไม่แตกต่างกันทุกด้าน
3. การเปรียบเทียบระดับความคิดเห็นผู้บริหารสถานศึกษาและครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ ที่มีประสบการณ์ต่างกัน มีความคิดเห็นเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของครูในการบริหารงานโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ โดยรวม ไม่แตกต่างกัน เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ไม่แตกต่างกันทุกด้าน
4. การเปรียบเทียบระดับความคิดเห็นผู้บริหารสถานศึกษาและครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ ที่ปฏิบัติงานในโรงเรียนที่มีขนาดต่างกัน มีความคิดเห็นเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของครูในการบริหารงานโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ จำแนกตามขนาดโรงเรียน โดยรวมแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.01 เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
Abstract
ABSTRACT
This study aimed 1) to investigate the teachers’ participation in school administration under the Office of Bueng Kan Basic Educational Service Area, 2) to compare the teachers’ participation in school administration under the Office of Bueng Kan Basic Educational Service Area as perceived by school administrators and teachers classified by status, and 3) to compare the teachers’ participation in school administration under the Office of Bueng Kan Basic Educational Service Area as perceived by school administrators and teachers classified by working experiences, 4) to compare the teachers’ participation in school administration under the Office of Bueng Kan Basic Educational Service Area as perceived by school administrators and teachers classified by school size, 5) establish the guidelines for developing the teachers’ involvement in school administration under the Office of Bueng Kan Basic Educational Service Area. The sample groups, obtained through a multi-stage sampling technique, were a total of 530 administrators and teachers from primary schools under the Office of Bueng Kan Basic Educational Service Area in the 2013 academic year. The research instrument was a set of questionnaires with the discrimination power ranged from 0.44-0.74 and the reliability of .97. The data was analyzed through a statistical software program.
The results were as followed:
1. The teachers’ participation in school administration under the Office of Bueng Kan Basic Educational Service Area was rated, as a whole, at a high level which ranked at levels from high to low as: academic administration, general administration, budget and personal administration.
2. The comparison on the teachers’ participation in school administration under the Office of Bueng Kan Basic Educational Service Area as perceived by administrators and teachers with different status revealed that there was no significant difference. When considering in each aspect, there was also no significantly different in all aspects.
3. The comparison on the teachers’ participation in school administration under the Office of Bueng Kan Basic Educational Service Area as perceived by administrators and teachers with different working experience revealed that there was no significant difference. When considering in each aspect, there was also no significantly different in all aspects.
4. The comparison on the teachers’ participation in school administration under the Office of Bueng Kan Basic Educational Service Area as perceived by administrators and teachers with different school size revealed that there was significantly different at the .01 level. When considering in each aspect, there was different at the .01 level of significance.
คำสำคัญ
การมีส่วนร่วมของครูในการบริหารงานโรงเรียนประถมศึกษาKeyword
Teachers’ Participation, Primary School Administrationกำลังออนไลน์: 368
วันนี้: 1,583
เมื่อวานนี้: 1,743
จำนวนครั้งการเข้าชม: 15,169
อาคารบัณฑิตวิทยาลัย ชั้น 2 ตำบลธาตุเชิงชุม อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร 47000 โทร/ แฟกซ์ 0-4297-0036
บรรณาธิการ: รองศาสตราจารย์ ดร.ไชยา ภาวะบุตร
ติดต่อ/สอบถาม: นายธีรเวทย์ เพียรธัญญกรณ์
โทร: 0-4297-0093