บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความต้องการจำเป็น ปัญหา และความ ต้องการของ นักศึกษาปริญญาโท สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร กลุ่มตัวอย่าง ประกอบ ด้วยนักศึกษาชั้นปีที่ 1 และ 2 จำนวน 125 คน การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณซึ่ง ใช้แบบสอบถาม เป็นเครื่องมือ และใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงในการเก็บข้อมูลค่าสถิติที่ใช้คือ การหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต และค่าเบี่ยง เบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า นักศึกษามีความต้องการจำเป็นในการ ใช้ทักษะ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทั้ง 4 ทักษะ คือ การฟัง การพูด การอ่าน และ การเขียน นักศึกษามีปัญหาด้านการฟัง ข่าว รายการวิชาการทางวิทยุ และการพูด การอภิปราย หรือบรรยายทางวิชาการ นอกจากนี้นักศึกษามีปัญหากับเนื้อหากับการเรียนใน รายวิชานี้ และในส่วนของ ความต้องการของผู้เรียนนั้น นักศึกษาต้องการใช้ภาษาอังกฤษในชีวิต ประจำวันได้หลังจากเรียนจบ จากรายวิชานี้ อีกทั้งยังต้องการฝึกทักษะภาษาอังกฤษทั้ง 4 ทักษะเท่าๆ กัน และต้องการให้มีอาจารย์ ชาวต่างชาติร่วมเป็น อาจารย์สอนในรายวิชาอีกด้วย ผลการวิจัยนี้อาจเป็นประโยชน์ในการพัฒนา หลักสูตร และการจัดการเรียนการ สอนสำหรับ สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
Abstract
ABSTRACT
The purposes of this study were to investigate and clarify the needs, problems, and wants of graduate students studying in Master of Education in Educational Administration program at Sakon Nakhon Rajabhat University. The sample of the present study comprised three groups: second year students (43) and first year students (82). The quantitative approach was utilized through a questionnaire and the purposive sampling technique was used to collect the data. The statistical procedures in this study were as follows: frequency distribution, percentages (%), a five point Likert scale, arithmetic mean () and standard deviation (S.D.). The major findings were as follows. (a) The students needed to use all four English skills. (b) Learners had problems with listening while they listen to academic radio program. They also had difficulties with speaking during academic discussion. (c) Furthermore, the students had problems with the content of the study. Finally, (d) the students wanted to be able to use English in daily life after they passed the course. They also wanted to study English with four skills equally and the course should have Thai and foreign instructors to be co-taught in the course. This study has implication for curriculum design and instructional delivery for Educational Administration
คำสำคัญ
ความต้องการจำเป็น ปัญหา ความต้องการ การบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนครKeyword
Needs, Problems, Wants, Educational Administration, Sakon Nakhon Rajabhat Universityกำลังออนไลน์: 77
วันนี้: 1,853
เมื่อวานนี้: 1,740
จำนวนครั้งการเข้าชม: 57,052
อาคารบัณฑิตวิทยาลัย ชั้น 2 ตำบลธาตุเชิงชุม อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร 47000 โทร/ แฟกซ์ 0-4297-0036
บรรณาธิการ: รองศาสตราจารย์ ดร.ไชยา ภาวะบุตร
ติดต่อ/สอบถาม: นายธีรเวทย์ เพียรธัญญกรณ์
โทร: 0-4297-0093