...
...
เผยแพร่: 15 ม.ค. 2558
หน้า: 190-199
ประเภท: บทความวิจัย/บทความวิทยานิพนธ์
View: 289
Download: 179
Download PDF
สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวทางพัฒนาการบริหารจัดการตามโครงการแท็บเล็ตพีซีเพื่อการศึกษา ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต 2
States, Problems and Guidelines for the Development Management of the “one tablet per child” Project in Schools under the Office of Nakhon Phanom Primary Educational Service Area 2
ผู้แต่ง
นงค์นุช บุตรดาวงษ์, สวัสดิ์ โพธิวัฒน์, สมเกียรติ พละจิตต์

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ  1) ศึกษาสภาพปัจจุบันของการดำเนินงาน และปัญหาการบริหารจัดการตามโครงการแท็บเล็ตพีซีเพื่อการศึกษา 2) เปรียบเทียบสภาพปัจจุบันของการดำเนินงานและปัญหาการบริหารจัดการตามโครงการแท็บเล็ตพีซีเพื่อการศึกษาและ 3) เสนอแนวทางพัฒนาการบริหารจัดการตามโครงการแท็บเล็ตพีซีเพื่อการศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครพนมเขต 2  จำนวน 130 โรง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า สถิตที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือค่าร้อยละ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าที (t-test ชนิด Independent  Samples) และค่าเอฟ (F-test ชนิด One way ANOVA)

ผลการวิจัยพบว่า

1. สภาพปัจจุบันของการดำเนินงาน ของการบริหารจัดการตามโครงการแท็บเล็ตพีซีเพื่อการศึกษา ภาพรวมอยู่ในระดับมาก และมีปัญหาในภาพรวมอยู่ในระดับมากเช่นเดียวกัน          

2. การบริหารจัดการตามโครงการแท็บเล็ตพีซีเพื่อการศึกษาโดยภาพรวมตัวแปรขนาดโรงเรียนมีการดำเนินงานแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 ส่วนตัวแปรระดับการจัดการศึกษาของโรงเรียนมีการดำเนินงานไม่แตกต่างกัน สำหรับปัญหาการดำเนินงานโดยภาพรวมไม่แตกต่างกันทั้งตัวแปรขนาดโรงเรียนและระดับการจัดการศึกษา
3. การบริหารจัดการแท็บเล็ตพีซีเพื่อการศึกษามีแนวทางพัฒนาการดำเนินงานประกอบด้วย แนวทางด้านการเตรียมความพร้อมในการจัดการเรียนรู้ ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และด้านการบริหารจัดการ

Abstract

ABSTRACT

The purposes of this research were to 1) investigate current states and problems of the operations of the one tablet per child” for education, 2) compare current states of the operation and the management problems of the “One Tablet Per Child” for education, and  3) propose  guidelines of  development  management in the project of “One Tablet Per Child” for education. The samples of this study consisted of 130 schools under the Office of Nakhon Phanom Primary Educational Service Area 2. Statistics used were 130 schools under the Office of Nakhon Phanom Primary Educational Service Area 2. Statistics used were percentage, mean, standard deviation, t- test (Independent Samples), and F-test (One-Way ANOVA).

The findings were as follows:

1. The current states of the operation management of the project of “One Tablet Per Child” for education were at the high level as a whole. The problems were also, in general, at the high level.

2. The management of the project of “One Tablet Per Child” for education, in general, according to school size was significantly different at the .05 level. There were no significant differences regarding the variables on educational provision. In general, the problems on management of both school size and educational provision showed no significant differences.

3. The guidelines on the management of the project on “One Tablet Per Child” for education comprised: guidelines on preparedness in learning management, learning activity operation as well as administration management.

คำสำคัญ

การบริหารจัดการตามโครงการแท็บเล็ตพีซีเพื่อการศึกษา

Keyword

Management of the “one tablet per child”.

สำนักงานสาขาวิชาการบริหารการศึกษา

อาคารบัณฑิตวิทยาลัย ชั้น 2 ตำบลธาตุเชิงชุม อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร 47000 โทร/ แฟกซ์ 0-4297-0036

ติดต่อเรา

บรรณาธิการ: รองศาสตราจารย์ ดร.ไชยา ภาวะบุตร

ติดต่อ/สอบถาม: นายธีรเวทย์ เพียรธัญญกรณ์

โทร: 0-4297-0093