บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความเหมาะสมของหลักสูตรสถานศึกษาสาระเพิ่มเติม เรื่อง การทำปุ๋ยชีวภาพ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 2) หาประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษาสาระเพิ่มเติม เรื่อง การทำปุ๋ยชีวภาพ ตามเกณฑ์ E1/E2 เท่ากับ 80/80 3) หาดัชนีประสิทธิผลการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษาสาระเพิ่มเติม เรื่อง การทำปุ๋ยชีวภาพถมศึกษาปีที่ 6 (4) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างเรียนและหลังเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษาสาระเพิ่มเติม เรื่อง การทำปุ๋ยชีวภาพ และ 5) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ กลุ่มตัวอย่างได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านวังยาง เครือข่ายปลาปากสว่างวิทย์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 จำนวน 20 คน ซึ่งได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Random Sampling) สถิติพื้นฐานที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การสอบ สมมติฐานใช้ สถิติ t – test (Dependent Samples))
ผลการวิจัย พบว่า
1. หลักสูตรสถานศึกษาสาระเพิ่มเติม เรื่อง การทำปุ๋ยชีวภาพ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยรวม มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด
2. ประสิทธิภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ E1/E2 เท่ากับ 84.65/85.50
3. ดัชนีประสิทธิผลการจัดการเรียนรู้ เท่ากับ 0.6627
4. นักเรียนที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษาสาระเพิ่มเติม เรื่อง การทำปุ๋ย ชีวภาพ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมี นัยสำคัญทางสถิติ ระดับ .01
5. ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อหลักสูตรสถานศึกษาสาระเพิ่มเติม เรื่อง การทำปุ๋ยชีวภาพ อยู่ในระดับมาก เฉลี่ย 4.323
Abstract
ABSTRACT
The purposes of this research were to 1) study an appropriateness of the additional school curriculum on making the “Organic Fertilizer” of Phathomsuksa 6 students; 2) to find out an efficiency of the learning management of the additional school curriculum on making the “Organic Fertilizer” according to a required criterion of 80/80; 3) to find out an effectiveness index of the learning management of the additional school curriculum on making the “Organic Fertilizer” of Prathomsuksa 6 students; 4) to compare the learning effectiveness during learning and after learning of students on the additional school curriculum on making the “Organic Fertilizer”, and 5) to find out a satisfaction of students gained from the learning activities. The samples were the 20 students of Prathomsuksa 6, obtained by the Purposive Random Sampling at Ban Wang Yang School, affiliated the Pla Pak Sawang Wit network under the Office of Nakhon Phanom Primary Education Service Area 1. The basic statistics used for data analysis were percent, mean, standard deviation, assumption conducted by t – test Dependent Samples.
The findings of this research were as follows:
1. An appropriateness of the additional school curriculum on making the “Organic Fertilizer” of Phathomsuksa 6 students was at the highest level.
2. An efficiency of the learning activities was 84.65/85.50.
3. An effectiveness index of the learning management was 0.6627.
4. The students who learned through using the additional school curriculum on making “Organic Fertilizer”, it was found that after learning was higher than during learning at statistical significant level of .01 on their learning effectiveness.
5. The students were satisfied with the additional school curriculum on making “Organic Fertilizer” was at the high level which its mean was 4.32.
คำสำคัญ
ความเหมาะสมของหลักสูตร, สาระเพิ่มเติม, ปุ๋ยชีวภาพKeyword
Appropriateness of school curriculum, Additional essence, Organic Fertilizerกำลังออนไลน์: 80
วันนี้: 0
เมื่อวานนี้: 3,598
จำนวนครั้งการเข้าชม: 58,797
อาคารบัณฑิตวิทยาลัย ชั้น 2 ตำบลธาตุเชิงชุม อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร 47000 โทร/ แฟกซ์ 0-4297-0036
บรรณาธิการ: รองศาสตราจารย์ ดร.ไชยา ภาวะบุตร
ติดต่อ/สอบถาม: นายธีรเวทย์ เพียรธัญญกรณ์
โทร: 0-4297-0093