...
...
เผยแพร่: 15 ก.ค. 2562
หน้า: 105-115
ประเภท: บทความวิจัย/บทความวิทยานิพนธ์
View: 557
Download: 269
Download PDF
สภาพ ปัญหา และผลสำเร็จของการดำเนินงานโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในจังหวัดสกลนคร
Conditions, Problems and Operational Success of Little Scientist’s HouseProject in Thai Schools under the Office of Sakon Nakhon Primary Educational Service Area
ผู้แต่ง
กมลรัตน์ ธิราวรรณ, ธวัชชัย ไพใหล, วรกัญญาพิไล แกระหัน

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อศึกษา เปรียบเทียบ และหาแนวทางการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ในโรงเรียนของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในจังหวัดสกลนคร กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารและครูปฐมวัย ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในจังหวัดสกลนคร ปีการศึกษา 2560 จำนวน 281 คน ประกอบด้วยผู้บริหาร จำนวน 125 คน และครูปฐมวัย จำนวน 156 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ซึ่งมีค่าอำนาจจำแนกรายข้อระหว่าง .38-.94 และมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .93 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าร้อยละ การทดสอบค่าที t-test (Independent samples) การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว F-test (One way ANOVA)

ผลการวิจัย พบว่า

1. ระดับสภาพ ของโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในจังหวัดสกลนคร โดยรวมอยู่ในระดับมาก

2. ระดับปัญหา ของโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในจังหวัดสกลนคร โดยรวมอยู่ในระดับน้อย

3. ระดับสำเร็จของการดำเนินงานโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในจังหวัดสกลนคร โดยรวมอยู่ในระดับมาก

4. สภาพ ปัญหาและผลสำเร็จของการดำเนินงานโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในจังหวัดสกลนคร จำแนกตามสถานภาพ ตามความคิดเห็นของผู้บริหารและครูปฐมวัย โดยรวมไม่แตกต่างกัน

5. สภาพ และปัญหาของโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในจังหวัดสกลนคร จำแนกตามขนาดโรงเรียน ตามความคิดเห็นของผู้บริหารและครูปฐมวัย โดยรวมแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

6. ผลสำเร็จของการดำเนินงานโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในจังหวัดสกลนคร จำแนกตามขนาดโรงเรียน ตามความคิดเห็นของผู้บริหารและครูปฐมวัย โดยรวมไม่แตกต่างกัน

7. สภาพ และปัญหาของโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในจังหวัดสกลนคร จำแนกตามสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ตามความคิดเห็นของผู้บริหารและครูปฐมวัย โดยรวมไม่แตกต่างกัน

8. ผลสำเร็จของการดำเนินงานโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในจังหวัดสกลนคร จำแนกตามสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ตามความคิดเห็นของผู้บริหารและครูปฐมวัย โดยรวมแตกต่าง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

9. แนวทางการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในจังหวัดสกลนคร ที่ควรได้รับการพัฒนา จำนวน 2 ด้าน คือ สภาพ และปัญหาด้านการบริหารงาน และผลการดำเนินงานด้านความรู้ โดยผู้วิจัยได้นำเสนอแนวทางการพัฒนาไว้ด้วย

Abstract

The purposes of this research were to study, compare, and establish Guidelines for developing the Little Scientist’s House Project in Thai schools under the Office of Sakon Nakhon Primary Educational Service Area. A total of 281 samples were obtained through a multi-stage sampling technique comprising 125 administrators and 156 early childhood teachers in schools under the Office of Sakon Nakhon Primary Educational Service Area, in the 2018 academic year. The research instruments were a set of 5-rating scale questionnaires with an item discrimination between .38 and .94 and the reliability of .93, and interview forms. The statistics for data analysis were mean, standard deviation, percentage, t-test (Independent samples) and F-test (One way ANOVA).

The findings were as follows:

1. The conditions of the Little Scientist’s House Project in Thai schools under the Office of Sakon Nakhon Primary Educational Service Area as perceived by school administrators and early childhood teachers as a whole were at a high level.

2. The problems of the Little Scientist’s House Project in Thai schools under the Office of Sakon Nakhon Primary Educational Service Area as perceived by school administrators and early childhood teachers as a whole were at a low level.

3. The success level of the Little Scientist’s House Project operation in Thai schools under the Office of Sakon Nakhon Primary Educational Service Area as perceived by school administrators and early childhood teachers as a whole were at a high level.

4. The conditions, problems and success of the Little Scientist’s House operation in Thai schools under the Office of Sakon Nakhon Primary Educational Service Area, classified by status as perceived by school administrators and early childhood teachers were not different.

5. The conditions and problems of the Little Scientist’s House Project in Thai schools under the Office of Sakon Nakhon Primary Educational Service Area, classified by school sizes as perceived by school administrators and early childhood teachers as a whole were different at a statistical significance of .05 level.

6. The operational success of the Little Scientist’s House in Thai schools under the Office of Sakon Nakhon Primary Educational Service Area classified by school sizes as perceived by school administrators and teachers as a whole were not different.

7. The conditions and problems of the Little Scientist’s House Project in Thai schools under the Office of Sakon Nakhon Primary Educational Service Area classified by different Educational Service Area Office as perceived by school administrators and early childhood teachers as a whole were not different.

8. The operational success of the Little Scientist’s House Project in Thai schools under the Office of Sakon Nakhon Primary Educational Service Area classified by different Educational Service Area as perceived by school administrators and early childhood teachers as a whole were different at a statistical significance of .05 level.

9. The needed improving guidelines for developing the Little Scientist’s House Project in Thai schools under the Office of Sakon Nakhon Primary Educational Service Area involved two aspects: the conditions and problems concerning administration, and the operational effects in terms of knowledge. The researcher proposed the guidelines for improvements based on experts’ interviews.

คำสำคัญ

โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย

Keyword

Little Scientist’s House Project

สำนักงานสาขาวิชาการบริหารการศึกษา

อาคารบัณฑิตวิทยาลัย ชั้น 2 ตำบลธาตุเชิงชุม อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร 47000 โทร/ แฟกซ์ 0-4297-0036

ติดต่อเรา

บรรณาธิการ: รองศาสตราจารย์ ดร.ไชยา ภาวะบุตร

ติดต่อ/สอบถาม: นายธีรเวทย์ เพียรธัญญกรณ์

โทร: 0-4297-0093